หน่วยการเรียนรู้ที่2

วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

กราฟิกขั้นสูง

กราฟิกขั้นสูง

         คอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกขั้นสูงเป็นสิ่งที่หลายคนให้ความสนใจ แม้ว่าด้วยฮาร์ดแวร์หลายชิ้นส่วนจะได้รับการพัฒนาให้มีความเร็วสูงหรือการประมวลผลที่ดีมากยิ่งขึ้น แต่ในกรณีที่ไม่ได้มีงบประมาณขนาดเซ็ตเครื่องในแบบ Workstation สำหรับการทำงานกราฟิกในขั้น Advance หรือแบบที่ใช้ในสำนักงานที่มีการ Optimize สำหรับโปรแกรมกราฟิกโดยเฉพาะก็ตาม การจัดวางฮาร์ดแวร์ที่สอดคล้องกัน ก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้การทำงานบนโปรแกรมกราฟิกในแบบต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น เช่นเดียวกับการเซ็ตสเปกที่เน้นอัตราทรูพุตหรือช่องทางรับ-ส่งข้อมูล ลดการหน่วงของเวลาในการติดต่อข้อมูลให้เร็วยิ่งขึ้น สามารถเข้าดูรายละเอียดของสเปกได้
 
การใช้งานทั่วไป

         ต้องเรียกได้ว่าเป็นระบบที่มีเรี่ยวแรงเหลือเฟือสำหรับการใช้งานโดยทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของแอพพลิเคชันพื้นฐาน ซอฟต์แวสร์สำนักงานหรือจะเป็นเรื่องของมัลติมีเดียต่างๆ เพราะในระบบสอดคล้องกันเป็นอย่างดี ทั้งซีพียู แรมและฮาร์ดดิสก์แบบ SSD ต่างก็ออกมารองรับกับการใช้งานได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นจึงไม่ต้องกังวลกับการใช้งานร่วมกับซอฟต์แวร์ต่างๆ รวมถึงยังสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามต้องการ อย่างเช่น ถ้าเน้นความเร็วให้กับระบบได้ชัดเจนขึ้น อาจเปลี่ยนเป็น SSD 120GB x2 มาต่อRAID 0 อย่างเดียวก็ยังได้ ก็จะเป็นการลดความหน่วงในการติดต่อข้อมูลระบบไปได้มากหรือจะเน้นไปที่การทำงานของซีพียูเป็นหลัก อาจจะขยับไปเป็น Core i7 แต่ราคาจะกระโดดสูงเกินไป ทางที่ดีก็อาจจะเน้นไปที่แรมความเร็วสูงกับ SSD น่าจะเห็นผลได้มากกว่า
 สำหรับโปรแกรมและงานกราฟิก
         ในด้านของฮาร์ดแวร์ที่จัดมานั้น เน้นในเรื่องของความแรงที่สอดคล้องกัน แม้ว่าซีพียูจะเป็นปัจจัยสำคัญ โดยวาง Intel Core i5 เป็นหัวใจหลักในการทำงาน แต่ในความแรงแบบจัดจ้านในแบบ 4-Cores/ 4-Threads ในซีรีส์ Gen.4 (Haswell) มาให้ก็ตาม แต่ก็เสริมความแรงด้วยแรมความจุ 16GB แต่เป็นความเร็วDDR3 1866MHz มาเสริมช่องทางสำหรับข้อมูลขนาดใหญ่ได้ดี อีกทั้งเมนบอร์ดที่เลือกไว้ ก็รองรับการอัพเกรดได้สบาย ไม่ว่าจะเป็น ฮาร์ดดิสก์ กราฟิกการ์ดหรือแรมก็ตาม เมื่อประสานร่วมกับ SSD 120GBจาก Samsung 840 Evo ที่ใช้ร่วมกับการติดตั้งโปรแกรมทำงานบางส่วน ก็ช่วยให้การเปิดไฟล์หรือการเรนเดอร์ภาพกราฟิกได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี WD Black series อีก 1TB มาช่วยในกรณีที่ต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ในการเก็บผลงาน แม้ว่าจะไม่ได้ใส่กราฟิกการ์ดที่เป็นแบบ Cutting-edge เฉพาะในงานกราฟิกก็ตาม แต่ในหลายๆ ส่วนก็เอื้อประโยชน์ให้กับงานกราฟิกแต่ละประเภทได้ดี โดยเฉพาะในเรื่องของการโหลดไฟล์ การประมวลผลและการเข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ว
เป็นสเปกคอมพ์อีกชุดหนึ่ง ซึ่งออกมาเป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้ที่กำลังมองหาทางออกในการทำงานบนซอฟต์แวร์กราฟิก ซึ่งเป็นการใช้งานภายในบ้านหรือสำนักงานขนาดเล็กที่ราคาไม่สูงเกินไปนัก ที่สำคัญหลายๆ ส่วนก็น่าจะตอบโจทย์ร่วมกับซอฟต์แวร์เฉพาะทางได้ดีทีเดียว
ตารางในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์

ฮาร์ดิส (ยี่ห้อ)
ความจุ (TB)
ราคา (บาท)
1.WESTERN HDD Hard Disk Internal
3.0
3770
2.WD Storage Desktop Hard Drives
1.0
1640
3.HD western SATA -111
4.0
6300
4.Seagate sv  35 cctv & surreillance
3.5
2980
การ์ดจอ
ความจุ (GB)
ราคา (บาท)
1.Pcle AMD R5 230 SAPPHIER
1
1070
2.Pcle AMD R5 230 asus
1
1120
3.Pcle AMD R5 230 ASUS
2
1290
4.Pcle AMD R7 240 Power color  over clock
2
1690
การ์ดเสียง
ราคา(บาท)
1. Yamaha sound yamha 4 channels
490
2.yamaha internal sound card 4 channels
459
การ์ดแลนด์
ความจุ
ราคา(บาท)
1.kroop USB FAX modem
56
920
2.ID-LINK DHP-W221 AV N150
200
1690
3.LKV 372 A 108 OP HDML Gxtender
600
1334

RAM
ความจุ
ราคา(บาท)
1.RAM DDR3
2
410
2.RAM DDR3 Kingston
2
440
3.RAM DDR3 Blackberry 8 chip
4
680

สรุป

1.      ฮาร์ดิส  รุ่น HD western SATA -111 ราคา 6300 บาท
2.      การ์ดจอ รุ่น Pcle AMD R7 240 Power color  over clock ราคา1690 บาท
3.      การ์ดเสียง รุ่น Yamaha sound yamha 4 channels ราคา 490 บาท
4.      การ์ดแลนด์ รุ่น LKV 372 A 108 OP HDML Gxtender ราคา 1334 บาท
5.      RAM รุ่น RAM DDR3 Blackberry 8 chip ราคา 680 บาท
คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานกราฟิกของเราอยู่ในราคาประมาณ 10494 บาท


















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น